ซื้อขายซ่อมเครื่องจักรทุกชนิด เครื่องพันช์ เครื่องกลึง เครื่องมิลลิ่ง เครื่อง cnc Machining center cnc lathe เครื่องตัด เครื่องพับ เครื่องเจียรนัยราบ เครื่องเจียรนัยกลม เครื่องม้วน เครื่องลับดอกสว่าน เครื่องลับดอกเอ็นมิล เครื่องพันช์ Turret punch press MURATA เครื่องเจาะ สว่านแท่น เครื่องเจาะต๊าบ เอ็นมิล ดอกสว่าน เม็ดมีดกลึง ด้ามมีดกลึง ปรึกษาปัญหางานได้ตลอด เอกชัย 084-7711559
วันเสาร์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2558
สาธิตการทำงานเครื่องพับ MURATA Press Brake BH8525 @ Intermach 2015 ไบเทค...
#Murata#Muratec#เครื่องพันช์#Punch#Punching#Turret Punch Press#Turret Punch
งานพันช์ งานเล็ก งานใหญ่ งานหนัก งานเบา ไว้ใจเรา ไอไอที กรุ๊ป
งานพันช์ งานเล็ก งานใหญ่ งานหนัก งานเบา ไว้ใจเรา ไอไอที กรุ๊ปเรื่องงานพันช์ เราพร้อมให้คำปรึกษา งานซ่อมบำรุง แก้ไขอาการเสีย ดูแลตรวจเช็คสภาพ งานขายเครื่องพันช์ เครื่องพับ MURATA พร้อมบริการครบวงจรที่เดียวจบทุกงานเกี่ยวกับงานโลหะแผ่น เพื่อการทำงานอย่างต่อเนื่อง ไม่มีสะดุด ทีมงานครบเครื่อง ซื้อที่ไหน ซ่อมที่ไหน ไม่จบ ติดปัญหา ยกหูโทรมาครับ พร้อมให้บริการ ดูแลได้ทุกเรื่องเครื่องพันช์
TURRET PUNCH PRESS / PRESS BRAKE / MURATA MACHINE / IIT GROUP ONLY
TURRET PUNCH PRESS / PRESS BRAKE / MURATA MACHINE / IIT GROUP ONLY
สนใจปรึกษาและสอบถามได้ที่ เอกชัย ไอไอที กรุ๊ป 084-7711559 หรือ www.iitgroup.in.th
เราพร้อมให้บริการ คำแนะนำ ปรึกษา เกียวกับ เครื่องพันช์ เครื่องปั้ม Turret Punch Press Murata
เราพร้อมให้บริการ คำแนะนำ ปรึกษา เกียวกับ เครื่องพันช์ เครื่องปั้ม Turret Punch Press Murata
สนใจปรึกษาและสอบถามได้ที่ เอกชัย ไอไอที กรุ๊ป 084-7711559 หรือ www.iitgroup.in.th
ความรู้ทั่วไปและการเลือกใช้และการใช้งานดอกสว่าน
เคยไหมที่เลือกใช้งานดอกสว่านไม่ถูกต้องตามชิ้นงาน ส่งผลให้อายุการใช้งานของดอกสว่านของท่าน ต่ำลง วันนี้ ขอนำเสนอความรู้พื้นฐานของการเลือกดอกสว่านแต่ละชนิด สำหรับผู้ที่เริ่มต้นใช้งานดอกสว่าน หรือผู้ที่ใช้งานอยู่แล้วแต่ยังไม่ทราบที่มาที่ไปของดอกสว่าน แต่ละชนิดว่า ชื่อเรียกแต่ละชื่อเป็นมากันอย่างไร
การใช้งานดอกสว่าน
หากแบ่งตาม ประเภทของการใช้งาน เราแบ่งดอกสว่านออกเป็น 3 ประเภท คือ ดอกสว่านสำหรับเจาะคอนกรีต ดอกสว่านสำหรับเจาะโลหะ ดอกสว่านสำหรับเจาะไม้
ดอกสว่านสำหรับเจาะไม้ส่วนปลาย แหลมมีหัวเกสรช่วยในการนำศูนย์ ลดการแกว่ง ใช้เหล็กคาร์บอนต่ำ (Low Carbon Steel) ทื่อเร็ว มีราคาถูก
ดอกสว่านสำหรับเจาะคอนกรีต ลักษณะดอกเป็นเกลียวบิด ส่วนปลายดอกเป็นเหล็กแข็ง ปลายบานเพื่อรับแรงกระแทก
ดอก สว่านสำหรับเจาะโลหะ ลักษณะดอกเป็นเกลียวตัดตลอดดอก ปลายดอกแหลมสำหรับจิกชิ้นงาน - ดอกสว่านแบบ HS High Speed ใช้สำหรับเจาะวัตถุเช่น ไม้ พลาสติก
- ดอกสว่านแบบ High Speed Steel HSS ใช้สำหรับเจาะเหล็กชนิดต่าง ๆ เช่น เหล็กแผ่น เหล็กอ่อน เหล็กเหนียว เหล็กหล่อ มีความแข็งสูงมาก - ดอกสว่านแบบ Tungsten Carbide ใช้สำหรับเจาะโลหะเนื้อแข็ง เช่น อัลลอย สแตนเลส สตีล
ความรู้เบื้องต้น ของการเลือกดอกสว่าน
ส่วนประกอบของดอกสว่านแบ่งออกเป็น 4 ส่วนหลัก
ลำตัวดอกสว่าน (Body)ลักษณะเป็นเกลียวขวา มีร่องคายเศษและสันคมตัด (Flute สันคมตัด ทำหน้าที่ขูดผิวงานให้เรียบ
ตัวอย่าง ชนิดของดอกสว่านก้านเตเปอร์ ดอกสว่านไฮสปีดโคบอลต์ก้านเตเปอร์เจาะเหล็กทั่วไป
วัสดุที่ใช้ในการผลิตดอกสว่าน วัสดุประเภทเหล็ก(Steel)
เหล็กคาร์บอนต่ำ (Low Carbon Steel)
มี ราคาถูก แต่คงความคมไว้ได้ไม่นาน จึงต้องลับคมอยู่บ่อยๆ ดอกสว่านที่ทำจากเหล็กชนิดนี้จะใช้เจาะไม้เท่านั้น แต่ถึงแม้จะเป็นไม้เหมือนกัน แต่การเจาะไม้เนื้อแข็งก็ทำให้ดอกสว่านทื่อได้เร็วกว่าเจาะไม้เนื้ออ่อน อย่างเห็นได้ชัด
เหล็กคาร์บอนสูง(High Carbon Steel)
ทนกว่า เหล็กคาร์บอนต่ำ เหล็กชนิดนี้ เมื่อใช้งานจนเกิดความร้อนแล้ว ส่วนคมของดอกสว่านจะอ่อนตัวทำให้ตัดได้แย่ลง ดอกสว่านแบบนี้สามารถเจาะได้ทั้งไม้และเหล็ก
เหล็กไฮสปีด (High Speed Steel) (HSS)
เป็น เหล็กที่ในปัจจุบันได้เข้ามาแทนที่เหล็กคาร์บอนเป็นเหล็กที่จัดอยู่ในกลุ่ม เหล็ก สำหรับทำเครื่องมือ (Tool Steel) มีความทนทานมากกว่าเหล็กคาร์บอนมาก สามารถทนต่อความร้อน ขณะใช้งานได้ดีโดยไม่ศูนย์เสียความแข็ง คุณสมบัติข้อนี้ทำให้ เหล็ก HSS สามารถเจาะผ่านวัสดุ ได้เร็วกว่าเหล็กคาร์บอน จึงเป็นที่มาของชื่อ High Speed Steel นั่นเอง ตัวอย่าง
ดอก สว่าน HSS ก้านหกเหลี่ยม สำหรับการเจาะเหล็ก สามารถใช้ร่วมกับ Impact Driver ทุกรุ่นทุกยี่ห้อ
เหล็กอัลลอยโคบอล
มีปริมาณโคบอลสูง กว่าเหล็กไฮสปีด มีคุณสมบัติที่สามารถคงความแข็งแกร่งได้ในอุณหภูมิที่สูงกว่ามาก ดอกสว่านที่ทำจากโคบอลอัลลอยจึงสามารถใชเจาะวัสดุแข็งๆ เช่นแสตนเลสสตีลได้ ข้อเสียหลักของเหล็กชนิดนี้คือมีความเปราะมากกว่าเหล็กไฮสปีดทั่วไป
ดอกสว่าน ไฮสปีด โคบอล ก้านตรง เหมาะสำหรับการเจาะเหล็กอัลลอยด์ เหล็กแม่พิมพ์ และ แสตนเลส
หวังว่าความรู้พื้นฐานนี้จะช่วยทุกท่านในการเลือกซื้อดอกสว่านให้ถูกต้องตามงาน ที่ใช้นะครับ
เก็บตกบรรยากาศ Boot IITGROUP ในงาน Intermach 2015 @ ไบเทค บางนา 13-16 พ.ค.58
เก็บตกบรรยากาศ Boot IITGROUP ในงาน Intermach 2015 @ ไบเทค บางนา 13-16 พ.ค.58
ขอขอบคณลูกค้าทุกท่านที่มาเยื่ยมชมบูธ ไอไอที กรุ๊ป ของเรา เราคัดสรรคเครื่องจักรที่ดี มีคุณภาพ สมเหตุสมผลกับราคามาให้ท่านเลือก ทั้ง TURRET PUNCH PRESS<เครื่องพันช์> และ PRESS BRAKE<เครื่องพับ> MURATA จากประเทศญี่ปุ่น
ขอขอบคณลูกค้าทุกท่านที่มาเยื่ยมชมบูธ ไอไอที กรุ๊ป ของเรา เราคัดสรรคเครื่องจักรที่ดี มีคุณภาพ สมเหตุสมผลกับราคามาให้ท่านเลือก ทั้ง TURRET PUNCH PRESS<เครื่องพันช์> และ PRESS BRAKE<เครื่องพับ> MURATA จากประเทศญี่ปุ่น
สนใจปรึกษาและสอบถามได้ที่ เอกชัย ไอไอที กรุ๊ป 084-7711559 หรือ www.iitgroup.in.th
เราพร้อมให้บริการ คำแนะนำ ปรึกษา เกียวกับ เครื่องพันช์ เครื่องปั้ม Turret Punch Press Murata
เราพร้อมให้บริการ คำแนะนำ ปรึกษา เกียวกับ เครื่องพันช์ เครื่องปั้ม Turret Punch Press Murata
สนใจปรึกษาและสอบถามได้ที่ เอกชัย ไอไอที กรุ๊ป 084-7711559 หรือ www.iitgroup.in.th
การบำรุงรักษาเครื่องจักร
การบำรุงรักษาเครื่องจักร
ในการใช้เครื่องจักรซีเอ็นซีทั่วไปจะต้องมีข้อพึงปฏิบัติหรือข้อควรระวังในการใช้งาน
และวิธีบำรุงรักษาเครื่องมือเครื่องจักร เพื่อให้ผู้ใช้งานปฏิบัติด้วยความปลอดภัย
และเป็นการยืดอายุการใช้งานของเครื่องมือเครื่องจักร
1. ทำความสะอาดเครื่องจักรทุกครั้งหลังการใช้งาน
2. ตรวจสอบระดับน้ำมันและเติมน้ำมันรวมถึงการทำความสะอาดตามจุดต่างๆ
ของเครื่องจักรตามจำนวนชั่วโมงที่บริษัทกำหนดมาให้
3. ตรวจสอบจุดต่อต่างๆตาม ไดอะแกรม CNC
ในการใช้เครื่องจักรซีเอ็นซีทั่วไปจะต้องมีข้อพึงปฏิบัติหรือข้อควรระวังในการใช้งาน
และวิธีบำรุงรักษาเครื่องมือเครื่องจักร เพื่อให้ผู้ใช้งานปฏิบัติด้วยความปลอดภัย
และเป็นการยืดอายุการใช้งานของเครื่องมือเครื่องจักร
1. ทำความสะอาดเครื่องจักรทุกครั้งหลังการใช้งาน
2. ตรวจสอบระดับน้ำมันและเติมน้ำมันรวมถึงการทำความสะอาดตามจุดต่างๆ
ของเครื่องจักรตามจำนวนชั่วโมงที่บริษัทกำหนดมาให้
3. ตรวจสอบจุดต่อต่างๆตาม ไดอะแกรม CNC
วันอังคารที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2558
สมบัติเชิงกลของวัสดุ
สมบัติเชิงกลของวัสดุ
สมบัติเชิงกลคืออะไร
คุณสมบัติเชิงกล (Mechanical Properties) ก็คือ พฤติกรรมอย่างหนึ่งของวัสดุ ที่สามารถแสดงออกมาเมื่อมีแรงจากภายนอกมากระทำ
คุณสมบัติเชิงกล (Mechanical Properties) ก็คือ พฤติกรรมอย่างหนึ่งของวัสดุ ที่สามารถแสดงออกมาเมื่อมีแรงจากภายนอกมากระทำ
สมบัติเชิงกลอันได้แก่
- ความเค้น (Stress)
เป็นลักษณะของแรงต้านที่อยู่ภายในของโลหะ ที่มีความพยายามในการต้านทานต่อแรงภายนอก ที่มากระทำต่อวัสดุนั้นๆ โดยแบ่งชนิดของความเค้นได้เป็นดังนี้ คือ- Tensile Stress หมายถึง ความเค้นแรงดึงที่เกิดจาก Tensile Force ที่มากระทำต่อชิ้นงาน
- Compressive Stress หมายถึงความเค้นแรงกด หรือ ความเค้นแรงอัด
- Shear Stress หมายถึงความเค้นแรงเฉือน เป็นความเค้นที่เกิดจาก Shear Force
- Bending Stress หมายถึงความเค้นแรงดัด เป็นความเค้นที่เกิดขึ้นต่อเมื่อชิ้นงานนั้นๆได้รับแรงดัด
- Torsion Stress หมายถึงความเค้นแรงบิด เป็นความเค้นที่เกิดจาก Torque กระทำตอชิ้นงานนั้นๆ
- ความเครียด (Stain)
เป็นความเครียดที่ปรากฏภายใต้แรงที่มากระทำต่อเนื้อของวัสดุ จนวัสดุเกิดรับแรงนั้นใว้ไม่ใหว ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขนาดและรูปร่างไปในทิศทางของแรงที่มากระทำ เช่น เกิดการยืดตัวออก (Elongation) หรือหดตัวเข้า (Contraction)โดยแบ่งชนิดของความเครียดได้เป็นดังนี้ คือ- Tensile Stain หมายถึง ความเครียดแรงดึงที่เกิดจาก Tensile Force ที่มากระทำต่อชิ้นงาน
- Compressive Stain หมายถึงความเครียดแรงกด หรือ ความเครียดแรงอัด
- Shear Stain หมายถึงความเครียดแรงเฉือน เป็นความเครียดที่เกิดจาก Shear Force
- ความยืดหยุ่น (Flexible)
ความยืดหยุ่นก็คือการที่มีแรงจากภายนอกมากระทำจนเกิดการปลี่ยนแปลง รูปร่างอย่างชั่วคราว (Elastic Deformation) และเมื่อเราปล่อยแรงกระทำนั้นออก ก็จะสามารถกลับคืนสู่สภาพเดิมได้เอง คุณบัติจะคล้ายๆกับการเป็นสปริงนั่นเอง - ความอ่อนตัว (Ductilily)
เป็นสมบัติเชิงกลอย่างหนึ่งของวัสดุที่รับแรงกดหรือแรงอัด แล้วเกิดเปลี่ยนรูปร่างอย่างถาวร (Elastic Deformation) โดยเฉพาะอาจเกิดการอ่อนตัว ตีแผ่ให้ป็นแผ่นบางได้ดี ตัวอย่างเช่น ทองคำ - ความเปราะ (ฺBrittleness)
เป็นสมบัติเชิงกลอย่างหนึ่งของวัสดุที่รับแรงเพียงเล็กน้อย แล้วเกิดการขาดออกจากกัน เช่น เหล็กหล่อ แก้ว เป็นต้น โดยจะคิดจากค่า 5% ของความเครียดเป็นหลัก กล่าวคือวัสดุใดๆก็ตามที่เกิด การแตกหักก่อนค่า 5% ของความเครียดวัสดุนั้นก็จะมีความเปราะมากนั่นเอง - ความเหนียว (ฺToughness)
เป็นสมบัติของวัสดุที่สามารถยืดตัวออกไปได้อย่างถาวร หรือเป็นการเปลี่ยแปลงรูปร่างอย่าง ถาวร ซึ่งจะคิดจากค่า 5% ของความเครียดเป็นหลักเช่นกัน - ความแข็งแรง (ฺStrength)
หมายถึงความแข็งแรงดึงสูงสุด (Ultimate Tensile Strength) ความแข็งแรงกดหรือแรงอัด สูงสุด (Ultimate Compressive Strength) ซึ่งเราสามารถจะสังเกตุได้จาก Stress-Stain Curve ซึ่งตรงจุดแตกหัก(Breaking Point) นั้นเราจะเรียกกันว่า เป็นจุดความแข็งแรงที่จุดแตกหักนั่นเอง - ความแข็งแกร่ง (ฺStiffness)
หมายถึงสมบัติของวัสดุที่แสดงความสามารถในการต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลงรูป ร่างหรือ ต่อการเปลี่ยนรูปในช่วง Elastic limit ในขณะที่กำลังรับแรงนั้นๆอยู่ ค่าความแกร่งจะเปลี่ยนแปลงไป ตามค่าของ Modulus of Elastic และค่า Rigdity - พลาสติกซิตี (ฺPlasticity)
หมายถึงสมบัติของวัสดุที่สามารถในการเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้โดยที่มิได้เกิด ขาดหรือแตกหัก โดยเฉพาะจะมีความสำคัญมากในงาน Rolling Extruding และ Drawing เป็นต้น - ความล้า (ฺFatique)
หมายถึงแรงที่กระทำต่อวัสดุเป็นจังหวะๆหรือซ้ำๆจนวัสดุนั้นเกิดการเปราะและแตกหักในภายหลัง - การคืบ (ฺCreep)
หมายถึงการเกิดความเครียดอย่างถาวร (Permanent Set) อย่างช้าๆภายในเนื้อของวัสดุที่ต้อง รับแรงทางกลเป็นเวลาตอเนื่องเนิ่นนานและอุณหภูมิสูงๆ จนกระทั่งเนื้อของวัสดุนั้นๆเกิดการเคลื่อนตัว ของอะตอม ภายในเนื้อของวัสดุจนกระทั่งเกิดการขาดจากกันไปในที่สุด - ฮิสเตอริซิสทางกล
หมายถึงพลังงานที่ถูกสะสมอยู่ภายในเนื้อของวัสดุ อันเป็นสาเหตุมาจากวัสดุนั้นๆปล่อยพลังงาน ที่รับใว้กลับออกมาไม่หมด จึงเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน ( Thermal Energy) ออกมาแทนนั่นเอง
วันเสาร์ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2558
ส่งมอบเป็นที่เรียบร้อยกับเครื่องพันช์ Murata พร้อมชุดโหลดงานอัติโนมัติ
ส่งมอบเป็นที่เรียบร้อยกับเครื่องพันช์ Murata พร้อมชุดโหลดงานอัติโนมัติ ขอขอบคุณลูกค้าที่ไว้วางใจใน เครื่องพันช์ <TURRET PUNCH PRESS> Mutata พร้อมงานบริการหลังการขายดีๆ จาก ไอไอที กรุ๊ป ตัวแทนจำหน่าย และ ติดตั้ง เครื่องพันช์ <TURRET PUNCH PRESS> Murata แต่เพียงผู้เดียว ที่ได้รับการอบรมโดยตรงจากผู้ผลิต พร้อมการเทรนนิ่ง ดูแลอย่างดี ที่ทำให้คุณสามารถก้าวไปแข่งขันกับคู่แข่งได้อย่างมั่นใจ เราพร้อมโตไปด้วยกัน บริการดีๆจาไอไอที กรุ๊ป
สนใจปรึกษาและสอบถามได้ที่ เอกชัย ไอไอที กรุ๊ป 084-7711559 หรือ www.iitgroup.in.th
เราพร้อมให้บริการ คำแนะนำ ปรึกษา เกียวกับ เครื่องพันช์ เครื่องปั้ม Turret Punch Press Murata
เราพร้อมให้บริการ คำแนะนำ ปรึกษา เกียวกับ เครื่องพันช์ เครื่องปั้ม Turret Punch Press Murata
สนใจปรึกษาและสอบถามได้ที่ เอกชัย ไอไอที กรุ๊ป 084-7711559 หรือ www.iitgroup.in.th
#Murata#Muratec#เครื่องพันช์#Punch#Punching#Turret Punch Press#Turret Punch
วันศุกร์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2558
Automatic Tool Change
Automatic Tool Change
หรือเรียกยjอๆ ว่า ATC ชุดเปลี่ยน เครื่องมือจะถูกออกแบบตามแต่บริษัทฯผู้ผลิตว่าจะให้ทํางานแบบใด ส่วนใหญ่รูปแบบของอุปกรณ์เปลี่ยน Tool มีดังนี้
1 แบบโซ่ลําเลียง ( Chain Conveyer) ลักษณะแบบนี้ส่วนใหญ่ใช้กับเครื่องกัดแนวตั้ง และต้องการจับ Tools ได้หลาย ๆ ตัวการทํางานเมื่อต้องการเปลี่ยน Tool ชุดโซ่ลําเลียงจะเลื่อนออกมา ทางขวามือและหมุนให้ Tool ที่ต้องการใช้งาน (เรียกในโปรแกรม) มาในตําแหน่งเปลี่ยน Tool จากนั้น ชุดหัวเครื่องจะเลื่อนลงมาจับ Tool แต่ถ้าหากมี Tool ค้างอยู่ในหัวเครื่อง ชุดโซ่ลําเลียงจะหมุนไปยัง ตําแหน่งของ Tool ที่ค้างอยู่เพื่อเก็บก่อนที่จะนํา Tool ใหม่มาใส่เข้าไป
2 แบบจานหมุน ( Rotary ) หลักการทํางานเช่นเดียวกับแบบโซ่ลําเลียง แต่ส่วนใหญ่จะจับ Tool ได้น้อยกว่า
3 แบบสายพานลําเลียง ( Belt Conveyer ) ชุดเปลี่ยนเครื่องมือแบบนี้ส่วนใหญ่ใช้กับเครื่อง ที่มีเพลากัดอยู่ในแนวนอน และจําเป็นต้องมีแขนจับเครองมือ ( Tool Gripper ) ขณะทํางานแขนจับจะ เลื่อนออกมาด้านหน้า จากนั้นหมุนไป 90 องศาปลายข้างหนึ่งจะจับเข้าพอดีกับ Tool ที่อยู่ในบนสายพานลําเลียง ส่วนอีกด้านหนึ่งจะจับ Tool ที่อยู่กับ Spindle จากนั้นเลื่อนออกมาด้านหน้าเพื่อปลด Tool ออก จากช่องแม็กกาซีน และSpindle เมื่อพ้นแล้วก็จะหมุนไป 180 องศา เพื่อสลับ Tool จากนั้นจึงถอยหลังเพื่อสวม Tool เข้าตําแหน่งแล้วหมุนกลับ 90 องศาจากนั้นถอยหลังเพื่อเก็บในตำแหน่งก่อนเครื่องทำงาน
ที่มา : http://krusupap.cmtc.ac.th/main/images/stories/milling/unit1_content.pdf
หรือเรียกยjอๆ ว่า ATC ชุดเปลี่ยน เครื่องมือจะถูกออกแบบตามแต่บริษัทฯผู้ผลิตว่าจะให้ทํางานแบบใด ส่วนใหญ่รูปแบบของอุปกรณ์เปลี่ยน Tool มีดังนี้
1 แบบโซ่ลําเลียง ( Chain Conveyer) ลักษณะแบบนี้ส่วนใหญ่ใช้กับเครื่องกัดแนวตั้ง และต้องการจับ Tools ได้หลาย ๆ ตัวการทํางานเมื่อต้องการเปลี่ยน Tool ชุดโซ่ลําเลียงจะเลื่อนออกมา ทางขวามือและหมุนให้ Tool ที่ต้องการใช้งาน (เรียกในโปรแกรม) มาในตําแหน่งเปลี่ยน Tool จากนั้น ชุดหัวเครื่องจะเลื่อนลงมาจับ Tool แต่ถ้าหากมี Tool ค้างอยู่ในหัวเครื่อง ชุดโซ่ลําเลียงจะหมุนไปยัง ตําแหน่งของ Tool ที่ค้างอยู่เพื่อเก็บก่อนที่จะนํา Tool ใหม่มาใส่เข้าไป
2 แบบจานหมุน ( Rotary ) หลักการทํางานเช่นเดียวกับแบบโซ่ลําเลียง แต่ส่วนใหญ่จะจับ Tool ได้น้อยกว่า
3 แบบสายพานลําเลียง ( Belt Conveyer ) ชุดเปลี่ยนเครื่องมือแบบนี้ส่วนใหญ่ใช้กับเครื่อง ที่มีเพลากัดอยู่ในแนวนอน และจําเป็นต้องมีแขนจับเครองมือ ( Tool Gripper ) ขณะทํางานแขนจับจะ เลื่อนออกมาด้านหน้า จากนั้นหมุนไป 90 องศาปลายข้างหนึ่งจะจับเข้าพอดีกับ Tool ที่อยู่ในบนสายพานลําเลียง ส่วนอีกด้านหนึ่งจะจับ Tool ที่อยู่กับ Spindle จากนั้นเลื่อนออกมาด้านหน้าเพื่อปลด Tool ออก จากช่องแม็กกาซีน และSpindle เมื่อพ้นแล้วก็จะหมุนไป 180 องศา เพื่อสลับ Tool จากนั้นจึงถอยหลังเพื่อสวม Tool เข้าตําแหน่งแล้วหมุนกลับ 90 องศาจากนั้นถอยหลังเพื่อเก็บในตำแหน่งก่อนเครื่องทำงาน
ที่มา : http://krusupap.cmtc.ac.th/main/images/stories/milling/unit1_content.pdf
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)