ปัญหา | สาเหตุที่น่าจะเป็นไปได้ | วิธีแก้ไข |
1. | ใบเลื่อยหักตัดขาดเป็นแนวตรง แสดงถึงความล้าของใบเลื่อย |
|
• | ใช้ใบไม่ถูก - ฟันหยาบเกินไป |
• | ความตึงของใบมากเกินไป |
• | กด Feed มากเกินไป |
• | น้ำมันหล่อเย็น COOLANT ผิดประเภท |
• | ขนาดวงล้อพาใบเลื่อยสึกหรือเล็กเกินไปไม่เหมาะสมกับขนาดใบเลื่อยที่ใช้ |
• | สันของใบเลื่อยถูกับขอบวงล้อพาใบเลื่อย |
• | ฟันใบเลื่อยสัมผัสบนชิ้นงานก่อนเดินเครื่อง |
• | ตัวประคองใบเลื่อย Guide สึกหรือตั้งห่าง |
|
• | เลือกใช้ฟันให้ละเอียดขึ้น |
• | ลดความตึง ใช้เครื่องมือวัดความตึง |
• | ลดแรงกด FEED PRESSURE |
• | เช็คน้ำยาหล่อเย็น |
• | ใช้ใบเลื่อยที่บางกว่าและปรับลดความเร็วของใบเลื่อย SPEED |
• | ปรับองศาของวงล้อให้ได้ฉากทั้งสองด้าน |
• | เว้นระยะห่าง 1/2" ระหว่างฟันใบเลื่อยกับชิ้นงานก่อนเดินเครื่อง |
• | ตรวจดูตัวประคองใบเลื่อยและปรับตำแหน่งแขนประคองใบให้ชิดกับชิ้นงาน |
|
|
• | ฟันใบเลื่อยวิ่งกลับด้าน |
• | ระยะเวลาการปรับเข้าที่ของใบเลื่อย BREAK-IN ไม่พอ |
• | ขนาดฟันใบเลื่อยถี่เกินไป |
• | ความแข็งของชิ้นงานไม่สม่ำเสมอ |
• | น้ำมันหล๋อเย็นผสมไม่ได้ส่วน |
• | ความเร็วรอบต่ำหรือแรงกดสูงเกินไป |
• | แปรงปัดใบเลื่อยไม่ทำงาน |
|
• | เปลี่ยนใส่ด้านให้ถูกต้อง |
• | การเริ่มใช้ใบใหม่ทุกครั้งให้ลดแรง FEED และลดความเร็วรอบ 30% ในระยะเวลา 15 นาทีแรก |
• | ดูตารางการเลือกฟันใบเลื่อย |
• | ระวังจุดแข็ง เช่น บริเวณรอยเชื่อมหรือจุดชุบแข็ง |
• | ควรตรวจเช็คน้ำมันหล่อเย็น |
• | ปรับความเร็วรอบ |
• | ตรวจแปรงปัด |
|
|
• | ฟันหมดคม |
• | แรงกด FEED มากเกินไป |
• | ขนาดฟันไม่ถูกต้อง (ละเอียดเกินไป) |
• | น้ำมันหล่อเย็นเลื้ยงไม่ทั่วถึง |
• | ตัวประคองใบสึกหรือตั้งหลวมเกินไป |
• | แขนประคองใบเลื่อยตั้งห่างชิ้นงาน |
• | ความตึงของใบเลื่อยหย่อน |
• | ความเร็วรอบของใบไม่พอ |
|
• | เปลี่ยนใบใหม่ |
• | ลดแรงกด |
• | เปลี่ยนฟันให้หยาบขึ้น |
• | ปรับหัวฉีดน้ำยาหล่อเย็น |
• | ตรวจเช็คตัวประคองใบและปรับตำแหน่งแขนประคองใบให้ชิดชิ้นงาน |
• | เพิ่มความตึง, ใช้เครื่องวัดความตึง |
• | เพิ่มความเร็วรอบ |
|
4. | ใบเลื่อยโก่งเอียงขณะตัด |
|
• | แรงกด FEED มากเกินไป |
• | ความตึงไม่พอ |
• | ตัวประคองใบหลวมหรือตั้งระยะแขนประคองห่างจากชิ้นงานมากเกินไป |
|
• | ลดแรงกด FEED |
• | เพิ่มความตึง ใช้เครื่องวัดความตึง |
• | ตรวจดูความแข็งของชิ้นงาน |
• | ปรับแขนประคองให้ใกล้ชิ้นงานและจัดหนีบให้แน่น |
|
|
• | น้ำมันหล่อเย็นไม่เพียงพอหรือใช้ผิดประเภท |
• | ผสมน้ำมันหล่อเย็นผิด |
• | ความเร็วและแรงกดของใบสูงเกินไป |
• | ลักษณะฟันไม่ถูกต้อง |
• | แปรงปัดขี้เลื่อยไม่ทำงาน |
|
• | ตรวจน้ำมันหล่อเย็น |
• | ตรวจน้ำมันหล่อเย็น |
• | ลดความเร็วและแรงกด |
• | เลือกเปลี่ยนขนาดฟัน |
• | ตรวจแปรงปัด |
|
6. | ฟันแตกหักด้านหลังของฟันแสดงถึง ชิ้นงานหลวมขณะตัด |
|
• | ความเร็วและแรงกดไม่ถูกต้อง |
• | ลักษณะฟันไม่ถูกต้อง |
• | ตัวประคองใบตั้งไม่ถูกต้อง |
• | แปรงปัดขี้เลื่อยไม่ทำงาน |
• | ชิ้นงานเคลื่อนขณะตัด |
|
• | ปรับความเร็วรอบให้เหมาะสม |
• | เลือกเปลี่ยนขนาดฟัน |
• | ปรับแต่งหรือเปลี่ยนตัวประคองใบเลื่อย |
• | ตรวจแปรงปัด |
• | ตรวจเช็คการจับชิ้นงานให้แน่น |
|
7. | ใบเลื่อยหักไม่เป็นแนวตรงแสดงถึงชิ้นงานหลวมขณะตัด |
|
• | การปิด-เปิดของปากกาจับชิ้นงานทำงานผิดพลาด |
• | ชิ้นงานเคลื่อนขณะตัด |
|
• | ตรวจสอบระบบปากกาจับชิ้นงาน |
• | ตรวจปากกาจับชิ้นงาน |
|
|
• | แรงกดมากเกินไป |
• | ฟันหักค้างในรอยตัดเก่า |
• | ฟันกระแทกถูกจุดแข็งของชิ้นงาน |
• | เลือกชนิดฟันของใบเลื่อยผิด |
• | ชิ้นงานเคลื่อนขณะตัด |
• | ระยะเวลาในการปรับเข้าที่ของใบ BREAK-IN ไม่เพียงพอ |
• | ฟันใบเลื่อยวิ่งผิดทาง |
• | แปรงปัดขี้เลื่อยไม่ทำงาน |
|
• | ลดแรงกด |
• | อย่าใช้ใบใหม่เลื่อยซ้ำรอยเก่า |
• | ตรวจสอบชิ้นงาน หลีกเลี่ยงบริเวณที่ชิ้นงานผ่านการชุบแข็งหรือรอยเชื่อม |
• | ตรวจเช็คการจับชิ้นงานให้แน่น |
• | การเริ่มใช้ใบใหม่ทุกครั้งให้ลดแรงกด 30% ในระยะเวลา 15 นาทีแรก |
• | กลับด้านใบเลื่อย |
• | ตรวจดูแปรงปัด |
|
|
• | ความตึงของใบไม่พอ |
• | แรงกด FEED มากเกินไป |
• | ลูกปืน / ตัวประคองใบเลื่อยด้านบนไม่ทำงานหรือสึกหรอ |
• | แขนประคองใบเลื่อยอยู่ห่างชิ้นงานมากเกินไป |
• | สันใบเลื่อยเสียดสีกับล้อพาใบเลื่อย |
|
• | ดูคู่มือการใช้เครื่อง หรือใช้เครื่องวัดความตึง |
• | ลดแรงกด FEED |
• | ปรับหรือเปลี่ยนลูกปืน / ตัวประคองใบเลื่อย |
• | ปรับแขนประคองใบเลื่อยให้เข้าใกล้ชิ้นงาน |
• | ปรับล้อพาใบเลื่อย |
|
10. | ชิ้นงานที่ตัดไม่เรียบ เกิดอาการสั่นหรือสะดุด |
|
• | ฟันใบเลื่อยหักหรือหมดคม |
• | แรกกดสูงหรือความเร็วรอบต่ำ |
• | ตัวประคองใบเลื่อยตั้งไม่ถูกต้อง |
• | ความตึงของใบไม่พอ |
• | ชนิดของฟันเลื่อยผิด (หยาบเกิน) |
|
• | เปลี่ยนใบใหม่ |
• | ปรับความเร็วรอบจนเสียงเสียดสีเบาลง |
• | ปรับตัวประคองใบเลื่อย เลื่อนแขนประคองใบให้เข้าใกล้ชิ้นงาน |
• | เช็คความตึงใบเลื่อย |
• | เลือกชนิดฟันใบเลื่อยให้ละเอียดขึ้น |
|
11. | เส้นรอยสึกด้านข้างฟันใบเลื่อย |
|
• | ลูกปืน / ตัวประคองใบเลื่อยหรือวงล้อพาใบเลื่อยเสียดสีกับฟันใบเลื่อย |
• | ความตึงของใบไม่พอ |
• | ถูกจุดแข็งของชิ้นงาน |
• | ตัวประคองด้านบนสึกเป็นร่อง |
|
• | ปรับตั้งตัวประคองหรือล้อพาใบเลื่อยให้ถูกต้อง |
• | ตรวจวัดความตึง |
• | ตรวจดูความแข็งของชิ้นงานหลีกเลี่ยงบริเวณที่มีการชุดแข็งหรือรอยเชื่อม |
• | เปลี่ยนลูกปืน / ตัวประคองด้านบน |
|
|
• | ใบเลื่อยติดคาชิ้นงานระหว่างตัด |
• | ตัวประคองใบหนึบแน่นเกินไป |
• | จับชิ้นงานไม่แน่น |
• | น้ำมันหล่อเย็นไม่พอหรือผิดประเภท |
|
• | แรงกด FEED ตรวจฟันใบเลื่อย |
• | ปรับตัวประคองให้เหมาะสม |
• | ตรวจดูปากกาจับชิ้นงาน |
• | ตรวจดูน้ำมันหล่อเย็น |
|
13. | ฟันเลื่อยสึก สีที่ฟันเลื่อยเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน |
|
• | เลือกใช้ใบไม่ถูกต้อง |
• | แรงกดและความเร็วไม่ถูกต้อง |
• | น้ำมันหล่อเย็นไม่พอหรือผิดประเภท |
|
• | เลือกเปลี่ยนขนาดฟัน |
• | ปรับความเร็วให้เหมาะสม |
• | ตรวจน้ำมันหล่อเย็น |
|
14. | ฟันแตกหัก รอยแตกเกิดขึ้นด้านหน้าของฟัน |
|
• | จับชิ้นงานไม่แน่น |
• | ฟันเลื่อยไม่เหมาะสม |
|
• | ตรวจดูปากกาจับชิ้นงาน |
• | เลือกเปลี่ยนขนาดใบเลื่อย |
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น